สรุปวิจัย
- การสังเกต
- การวัด
- การจำแนก
- ทักษะการสื่อความหมาย
- ทักษะการพยากรณ์
สรุปวิจัย
สรุปตัวอย่างการสอน
ซู เดอแรนต์ และชีลา เสจ ที่ปรึกษาครูระดับปฐมวัย มีความปรารถนาอย่างยิ่งที่จะพัฒนากลยุทธ์
เพื่อการเรียนรู้แบบเน้นความสนุกสนาน รายการตอนนี้ ทั้งสองศึกษากิจวัตรประจำวันที่โรงเรียนอนุบาลแห่ง
หนึ่ง และดูว่าจะนำกิจวัตรประจำวันมาใช้อย่างไร เพื่อพัฒนาทักษะการพึ่งตนเองและสร้างจินตนาการให้
เกิดขึ้นในตัวเด็ก รายการนี้จะทำให้ผู้ชมได้เห็นกิจวัตรประจำวันในแง่มุมใหม่ ตั้งแต่การแขวนเสื้อกันหนาว
การลงชื่อเข้าเรียน และการเข้าห้องน้ำ ได้เห็นเด็ก ๆ เลือกและกำกับกิจกรรมของตนเอง ตลอดจนได้เห็น
ครูจัดโอกาสการเรียนรู้ให้แก่เด็ก ๆ ซูและชีลายังศึกษาด้วยว่าจะใช้พื้นที่ในห้องเรียนให้หลากหลายได้
อย่างไร ทั้งสองจัดพื้นที่สำหรับใช้ความคิดให้แก่เด็ก ๆ ตลอดจนจัดเวลาให้เด็กได้โต้ตอบและเรียนรู้ตาม
ระดับความสามารถของตัวเอง สุดท้าย เราจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ “กล่องความคาดหวัง” ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งในการ
ช่วยส่งเสริมให้เด็ก ๆ อยากมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ประเด็นสำคัญของรายการตอนนี้คือ - ดูมาตรฐานที่เด็ก
ๆ ใช้กำกับการทำกิจกรรมของตัวเอง - ที่ปรึกษาครูระดับปฐมวัยซึ่งมากด้วยประสบการณ์ร่วมแบ่งปันความรู้
สรุปบทความ
การทดลองถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่เด็ก ๆ หลายคนชื่นชอบ เพราะนอกจากความสนุกสนานและตื่นตา
ตื่นใจที่เด็ก ๆ จะได้จากการทดลองแล้ว ยังช่วยฝึกทักษะการคิด ส่งเสริมให้เด็กเป็นคนช่างสำรวจ สืบเสาะ
ค้นหา รู้จักหาคำตอบและเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาได้ด้วยตัวเอง คุณครูและผู้ปกครองสามารถส่งเสริมให้กับ
เด็ก
ๆ ได้ด้วยการหากิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์สนุก ๆ มาให้เด็กได้ลองทำกันค่ะ
อุปกรณ์สำหรับการทดลอง
เมื่อเด็ก ๆ ทำกิจกรรมเสร็จแล้ว เด็กกับคุณครูหรือผู้ปกครองร่วมกันสรุปผลการทดลอง พูดคุย
ถึงสิ่งที่เห็นจากการทดลอง ว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างและสิ่งที่เด็ก ๆ เห็นเป็นไปตามสมมติฐานที่เด็ก ๆ ตั้ง
ไว้หรือไม่ จากนั้นคุณครูหรือผู้ปกครองช่วยสรุป และอธิบายถึงสิ่งที่เกิดจากการทดลองให้เด็ก ๆ ฟัง
จากนั้นให้เด็กวาดภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง ขั้นตอนในการทดลอง และเขียนสรุปผลการ
ทดลองสั้น ๆ ตามความรู้ ความเข้าใจของตัวเด็กเอง (สำหรับเด็กเล็กคุณครูหรือผู้ปกครองอาจช่วย
เด็กสรุป แล้วจดบันทึกตามคำพูดของเด็ก เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบพัฒนาการทางความคิดของเด็ก
ในการทดลองครั้งต่อไป)
ลงมือทำจริงด้วยตัวเอง โดยมีคุณครูหรือผู้ปกครองคอยให้คำแนะนำ และดูแลความปลอดภัยของ
เด็ก ๆ ในทุกขั้นตอนด้วยนะคะ เด็ก ๆ จะได้พัฒนาด้านสติปัญญา เกิดความคิดสร้างสรรค์ สนุกและ
เรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ เพื่อพัฒนาการที่ดีของเด็กในทุก ๆ ด้านต่อไป
บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
เนื้อหา
จากนั้นอาจารย์ให้แบ่งกลุ่มและเลือกกลุ่มละ 1หน่วย กลุ่มดิฉันเลือกหน่วยไข่
วันจันทร์ สอนเรื่อง ชนิดของไข่
วันอังคาร สอนเรื่อง ลักษณะของไข่
วันพุธ สอนเรื่อง การดูแลรักษาไข่
วันพฤหัสบดี สอนเรื่อง ประโยชน์ของไข่
วันศุกร์ สอนเรื่อง โทษของไข่
คำศัพย์
บันทึกอนุทินครั้งที่ 8
วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563
เวลา 08:30 - 12:30 น
เนื้อหา
ประเมินอาจารย์ อาจารย์อธิบายกระชับเข้าใจง่าย
ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังดี สนใจกิจกรรม
ประเมินตนเอง ตั้งใจทำกิจกรรม ถามเมื่อมีข้อสงสัย
เวลา 08:30 - 12:30 น.
ส่วนประกอบของน้ำ
ในร่างกายมี 70% ช่วยปรับสมดุลในร่างกายช่วยปรับอุณหภูมิ ในผลไม้มี 90%
คุณสมบัติของน้ำ น้ำมี 3 สถานะ
สามารถเปลี่ยนสถานะได้
ความกดดันของน้ำ
น้ำที่อยู่บนสุด มีแรงกดดันน้ำน้อยที่สุด น้ำพุ่งได้ในระยะสั้นที่สุดน้ำที่มีความลึกเท่ากัน จะมีแรงกดดันน้ำเท่ากันแรงกดดันน้ำไม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาด แต่ขึ้นอยู่กับความลึกยิ่งลึกมากแรงกดดันน้ำจะยิ่งมาก
การเกิดฝน
แหล่งน้ำโดนความร้อน ทำให้น้ำระเหยเป็นไอน้ำ รวมตัวกันเป็นก้อนเมฆลอย ไปกระทบกับความเย็นเกิดความควบแน่น ตกลงมาเป็นฝน
เเรงตึงผิว
เมื่อผิวหน้าของน้ำสัมผัสกับอากาศ ทำให้เกิดความยืดหยุ่น เมื่อเราวางวัตถุที่มีน้ำเบาลงบนผิวน้ำช้าๆ จะสามารถทำให้วัตถุลอยได้
ประเมินอาจารย์ อาจารย์อธิบายกระชับเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างประกอบ
ให้วาดเกี่ยวกับ เเหล่งน้ำที่มีชื่อเสียง
โดยจับกลุ่ม 5 คน เเละ เลือกมา 1 สถานที่กลุ่มของฉันเลือกวาดเป็น เเม่น้ำเเคว
อยากลองให้เพื่อนๆสังเกตเเละทายว่าสิ่งใดบ่งบอกว่า คือเเม่น้ำเเคว
สิ่งที่บ่งบอก นั่นก็คือ มีสะพาน มีเเพ เเละรถไฟ
คำศัพท์
สรุปวิจัย สรุปวิจัยเรื่อง : การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ (Preschool Children...